top of page
Search
  • Writer's picturesir humphry Davy

ลดต้นทุนการใช้น้ำในพื้นที่ EEC แหล่งผลิตทางการเกษตร

เกษตรกรกับการใช้น้ำ“ต้นทุเรียน” ความท้าทายในการจัดการน้ำของ EEC 

“ต้นทุเรียน” เป็นพืชเกษตรที่มีมูลค่าสูง เกษตรกรจึงหันมาเพาะปลูกกันมากขึ้น เฉพาะในภาคตะวันออก ปัจจุบันมีพื้นที่เพาะปลูกทุเรียนไม่น้อยกว่า 350,000 ไร่ เฉพาะระยองจังหวัดเดียวมีพื้นที่ปลูกทุเรียนกว่า 40,000-50,000 ไร่ และยังคงมีการขยายตัวมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา พบว่าเกษตรกรได้เปลี่ยนพืนที่ปลูกยางพาราหันมาปลูกทุเรียนแทบทุกวัน “ต้นทุเรียน” ความท้าทายในการจัดการน้ำของ EEC ปัญหาสำคัญที่ตามมาคือปริมาณน้ำต้นทุนของภาคตะวันออกจะมีเพียงพอหรือไม่ ขณะที่ EEC กำลังประสบกับสถานการณ์การขาดแคลนน้ำ เขตพื้นที่ EEC จึงเป็นแหล่งผลิตทางการเกษตรที่สำคัญ

ทั้งนี้งานวิจัยด้านสมดุลน้ำพบว่า ภาคการเกษตรเป็นกลุ่มที่มีการใช้น้ำมากที่สุด แต่สามารถลดปริมาณการใช้น้ำต่อพื้นที่ได้ด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพชลประทาน และปรับวิธีการให้น้ำ โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC ในพื้นที่ 3 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง


ในส่วนของ ดร.ทรงศักดิ์ ในฐานะหัวหน้าโครงการฯ กล่าวเพิ่มเติมว่า โดยก่อนที่จะทำการศึกษาวิธีการปลูกทุเรียนในการวิจัย ได้รับข้อมูลจากการสัมภาษณ์ว่าเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนส่วนใหญ่ให้น้ำต้นทุเรียนมากกว่าความต้องการใช้น้ำของพืช เพราะผู้รับซื้อทุเรียน (ล้งจีน) เชื่อว่ายิ่งให้น้ำมากผลผลิตทุเรียนจะมีคุณภาพมาก 


เกษตร และ บทวิเคราะห์ เทคโนโลยีทางการเกษตร ตลาดขายพืชผลทางการเกษตร ผลกระทบทางการเกษตร งบประมาณและนโยบายรัฐเพื่อการเกษตร และการส่งออกพืชผลทางการเกษตร ที่ได้รับความสนใจ ติดตามได้ที่ doodido

3 views0 comments

コメント


bottom of page